บทความ

บทที่1

 บทที่ 1 บทนำ ที่มาและความสำคัญของโครงงาน ทรัพยากรธรรมชาติ โลกของเราประกอบขึ้นด้วยพื้นดินและพื้นน้ำ โดยส่วนที่เป็นฝืนน้ำนั้น มีอยู่ประมาณ 3 ส่วน (75%) และเป็นพื้นดิน 1 ส่วน (25%) น้ำมีความสำคัญอย่างยิ่งกับชีวิตของพืชและสัตว์บนโลกรวมทั้งมนุษย์เราด้วยน้ำเป็นทรัพยากรที่สามารถเกิดหมุนเวียนได้เรื่อยๆ ไม่มีวันหมดสิ้น เมื่อแสงแดดส่องมาบนพื้นโลก น้ำจากทะเลและมหาสมุทรก็จะระเหยเป็นไอน้ำลอยขึ้นสู่เบื้องบนเนื่องจากไอน้ำมีความเบากว่าอากาศ เมื่อไอน้ำลอยสู่เบื้องบนแล้ว จะได้รับความเย็นและกลั่นตัวกลายเป็นละอองน้ำเล็ก ๆ ลอยจับตัวกันเป็นกลุ่มเฆม เมื่อจับตัวกันมากขึ้นและกระทบความเย็นก็จะกลั่นตัวกลายเป็นหยดน้ำตกลงสู่พื้นโลก น้ำบนพื้นโลกจะระเหยกลายเป็นไอน้ำอีกเมื่อได้รับความร้อนจากดวงทิตย์ ไอน้ำจะรวมตัวกันเป็นเมฆและกลั่นตัวเป็นหยดน้ำกระบวนการเช่นนี้ เกิดขึ้นเป็นวัฏจักรหมุนเวียนต่อเนื่องกันตลอดเวลา เรียกว่า วัฏจักรน้ำทำให้มีน้ำเกิดขึ้นบนผิวโลกอยู่สม่ำเสมอประโยชน์ของน้ำ น้ำเป็นแหล่งกำเนิดชีวิตของสัตว์และพืชคนเรามีชีวิตอยู่โดยขาดน้ำได้ไม่เกิน 3 วัน และน้ำยังมีความจำเป็นทั้งในภาคเกษตรกรรมและอุ...

บทที่1(2)

แหล่งเกษตรกรรมลงสู่แม่น้ำลำคลอง  น้ำเสียที่เกิดขึ้นนี้ส่งผลเสียหายทั้งต่อสุขภาพอนามัย เป็นอันตรายต่อสัตว์น้ำ และมนุษย์ ส่งกลิ่นเหม็น รบกวน ทำให้ไม่สามารถนำแหล่งน้ำนั้นมาใช้ประโยชน์ได้ทั้งการอุปโภค บริโภค เกษตรกรรม และอุตสาหกรรม ผลกระทบของน้ำเสียต่อสิ่งแวดล้อมเป็นแหล่งแพร่ระบาดของเชื้อโรค เช่น อหิวาตกโรค บิด ท้องเสีย  เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของแมลงนำโรคต่าง ๆ ทำให้เกิดปัญหามลพิษต่อดิน น้ำ และอากาศ  ทำให้เกิดเหตุรำคาญ เช่น กลิ่นเหม็นของ      น้ำโสโครกทำให้เกิดการสูญเสียทัศนียภาพ เกิดสภาพที่ไม่น่าดู เช่น สภาพน้ำที่มีสีดำคล้ำไปด้วยขยะ และสิ่งปฎิกูล  ทำให้เกิดการสูญเสียทางเศรษฐกิจ เช่น การสูญเสียพันธุ์ปลาบางชนิด  จำนวนสัตว์น้ำลดลง ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศในระยะยาว การอนุรักษ์น้ำ ดังได้กล่าวมาแล้วจะเห็นว่า น้ำมีความสำคัญและมีประโยชน์มหาศาล เราจึงควรช่วยแก้ไขปัญหาน้ำเสียหรือการสูญเสียทรัพยากรน้ำด้วยการอนุรักษ์น้ำ ดังนี้ 1. การใช้น้ำอย่างประหยัด การใช้น้ำอย่างประหยัดนอกจากจะลดค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าน้ำลงได้แล้ว ยังทำให้ปริมาณน้ำเสียที่จะทิ้งลงแหล...

บทที่1(3)

ตัวแปร     ตัวแปรต้น   ปริมาณน้ำที่ดูดน้ำกับตักได้     ตัวแปรตาม  ปริมาณน้ำที่ดูดได้     ตัวแปรควบคุม ระยะเวลา ระยะทาง ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. สามารถที่จะสร้างเครื่องได้เสร็จสมบูรณ์ 2. ช่วยให้ค่าใช้จ่ายในครัวเรือนได้ลดลงโดยการที่ทำให้มีลูกจ้างน้อยลง 3. เพื่อจะได้เปรียบว่าคนงานกับเครื่องน้ำเครื่องนี้สิ่งใดดีกว่ากัน 4. ทำให้ได้ใช้น้ำอย่างมีคุณค่ามากที่สุด นิยามศัพท์เฉพาะ         เครื่องดูดน้ำ DDU DU DDU DU คือ เครื่องมือ หรืออุปกรณ์ที่ใช้สำหรับการดูดน้ำ หรือส่งน้ำ หรือลำเลียงน้ำ จากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง โดยใช้พลังงานไฟฟ้าเป็นตัวขับเคลื่อน

บทที่2(1)

บททื่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง วิธีทำเครื่องสูบน้ำ “สูบน้ำด้วยน้ำ” วิธีทำเครื่องสูบน้ำอัตโนมัติ ทำงาน 24 ชั่วโมง ไม่อาศัยเชื้อเพลิงหรือไฟฟ้า โดย POSTSOD - ธันวาคม 7, 201701653 “ตะบันน้ำ” หรือ ไฮดรอลิคแรม (Hydraulic Ram) เป็นเทคโนโลยีการสูบน้ำอัตโนมัติที่ทำงานได้ตลอด 24 ชั่วโมง โดยไม่อาศัยเชื้อเพลิงหรือไฟฟ้า เพียงแค่ใช้พลังงานจากน้ำเป็นตัวขับเคลื่อนระบบ ก็สามารถสูบน้ำไปใช้ได้แล้ว ทั้งยังประยุกต์ใช้งานได้หลากหลายรูปแบบตามความต้องการอีกด้วย อ.ดร.จิระกานต์ ศิริวิชญ์ไมตรี ภาควิชา วิศวกรรมชลประทาน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ให้ข้อมูลว่าเครื่องตะบันน้ำเป็นเทคโนโลยีการสูบน้ำที่เป็นประโยชน์มาก เนื่องจากไม่ต้องใช้พลังงานเชื้อเพลิงหรือไฟฟ้าให้สิ้นเปลือง ซึ่งในต่างประเทศใช้กันมากว่า 200 ปีแล้ว แต่สำหรับประเทศไทยยังไม่เป็นที่แพร่หลายนัก ส่วนหนึ่งเป็นเพราะว่าการติดตั้งอุปกรณ์ดังกล่าวค่อนข้างยุ่งยาก และประสิทธิภาพการสูบน้ำค่อนข้างต่ำเมื่อเทียบกับเครื่องสูบน้ำที่ใช้เครื่องยนต์หรือมอเตอร์ แต่เชื่อว่าในอนาคตเครื่องตะบันน้ำจะเป็นที่รู้จักและได้รับความนิยมมากขึ้นแน่นอน ...

บทที่3

รูปภาพ
บทที่ 3 วิธีดำเนินงานโครงงาน ในการจัดทำโครงงาน เรื่อง เครื่อง DDU DU DDU DU น้ำ ผู้จัดทำโครงงานมีวิธีการดำเนินงานโครงงานตามขั้นตอน ดังนี้ วัสดุ อุปกรณ์ สำหรับการทำ เครื่อง DDU DU DDU DU น้ำ 1. มอเตอร์12 v r385 1-2ลิตร/นาที 2. ท่อสายยาง 3. ท่อPVC 4. ถังน้ำ ขั้นตอนการดำเนินงาน แบบที่1 ทดสอบกับคน 1. นำเครื่อง DDU DU DDU DU น้ำ ดูดน้ำ 2. ในนั้นจะมีที่กรองน้ำอยู่ในเครื่อง จากนั้นจะได้น้ำมา 3. น้ำที่ได้จากเครื่องจะส่งไปที่สวนผัก 4. แล้วเปรียบเทียบกันระหว่าง “คน” และ “เครื่อง DDU DU DDU DU น้ำ” ว่าอะไรที่จะพาน้ำไปถึงสวนผักได้ก่อน ขั้นตอนการดำเนินงาน แบบที่2 ทดลองกับค่าใช้จ่ายในครัวเรือนและการเสียน้ำในการนำน้ำมา 1. ลองไม่ใช้เครื่องนี้แล้วจ้างลูกจ้างมาเพื่อขนน้ำแล้วเตรียมจดบันทึกงานและตรวจสอบว่ามีน้ำตกหล่นไปจากถังบ้างไหม 2. ทดลองแบบนี้เป็นเวลา1เดือน 3. บันทึกค่าใช้ง่ายในเดือนนี้แล้วปริมาณน้ำที่หล่นไปจากถัง 4. ใช้ลูกจ้างขนน้ำให้น้อยลงแล้วใช่เครื่องดดูดน้ำแทนแล้วบันทึกผลเป็นเวลา1เดือน ที่มา: http://waterpumpcenter.com/product-tag/tsurumi/

บทที่2(2)

รูปภาพ
“ตนเองได้ศึกษาวิจัยเครื่องตะบันน้ำมา 5-6 ปีแล้ว ก็ได้พัฒนาเครื่องตะบันน้ำให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ สูบน้ำได้ปริมาณที่มากขึ้น ทำให้คนทั่วไปเริ่มให้ความสนใจ แต่อย่างไรก็ตามเครื่องที่มีอยู่ยังเป็นเครื่องขนาดเล็กใช้ในระดับครัวเรือนเท่านั้น ขณะที่ภาคการเกษตรต้องการน้ำในปริมาณมาก ดังนั้นหากพัฒนาเครื่องตะบันน้ำที่มีขนาดใหญ่สูบน้ำได้ปริมาณมากขึ้น เชื่อว่าทำให้มีเกษตรกรสนใจอย่างแน่นอน” สำหรับหลักการทำงานของเครื่องตะบันน้ำ อ.ดร.จิระกานต์ อธิบายว่า เริ่มจากน้ำจากแหล่งน้ำไหลเข้าสู่ท่อรับน้ำไปยังเครื่อง ผ่านวาล์วทิ้งน้ำจนความเร็วของการไหลเพิ่มสูงขึ้นทำให้เกิดแรงยกวาล์วทิ้งน้ำให้ปิด ซึ่งการปิดวาล์วทิ้งน้ำทำให้เกิดความดันจำนวนมากในตัวเครื่อง เรียกว่า ปรากฏการณ์ Water Hammer ทำให้วาล์วกันน้ำกลับถูกยกขึ้น น้ำส่วนหนึ่งจะถูกอัดเข้าไปเก็บในถังแรงดันและเข้าสู่ท่อจ่ายน้ำขึ้นไปยังถังพักน้ำ ขณะเดียวกันความดันในตัวเครื่องจะลดลงทำให้วาล์วกันน้ำกลับปิดและวาล์วน้ำทิ้งเปิด ตะบันน้ำก็เริ่มทำงานรอบใหม่อีกครั้ง ทั้งนี้จุดที่ติดตั้งเครื่องตะบันน้ำต้องอยู่ต่ำกว่าผิวน้ำอย่างน้อย 1.5 เมตร แต่ถ้าให้ดีควรต่ำกว่...